ประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนงานวิจัยของกระทรวง พม.

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09.30 น. เป็นต้นไป นางประภาวดี สิงหวิชัย ผู้อำนวยการกลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ รศ.ดร. มิ่งขวัญ คงเจริญผู้ช่วยนักวิจัย และ ผศ. ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย อาจารย์วิทยากร จัดประชุมเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมต่อเนื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิจัยระดับกลาง ครั้งที่ 1 รูปแบบออนไล่น์ (คลินิกวิจัย) ณ ห้องประชุมโป๊ยเซียน 707 ชั้น 7 B อาคารกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งกิจกรรมในครั้งนี้มีที่ผู้เข้าร่วมประชุม วัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงเนวทางการฝึกปฏิบัติการวิจัยในพื้นที่ โดยนำข้อเสนองานวิจัยได้ร่วมกันระดมความเห็นออกแบบไว้ มาต่อยอดนำสู่การสร้างเครื่องมือการวิจัย เพื่อการขับเคลื่อนงานในระยะต่อไป โดยที่วิทยากรได้บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ AM ในการทบทวนวรรณกรรมและค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยผ่านแอพพิเคชั่น (laude พร้อมทั้งชี้แจง กำหนดการจัดประชุมในรูปแบบคลินิกวิจัยในระยะต่อไป ดังนี้

1.จัดประชุมชี้แจงแนวทางขับเคลื่อนฯ วันจันทร์ ที่ 8 ก.ค. 67 เวลา 09.30 น. เป็นต้นไป

2. จัดคลินิกวิจัย ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 23 ก.ค. 67 เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป

3. จัดคลินิกวิจัยครั้งที่ 2 วันจันทร์ที่ 19 ส.ค. 67 เวลา 10.00 น.เป็นต้นไป

เพื่อเป็นการติดตามการดำเนินงานที่ได้มอบหมายให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติการอย่างถูกต้องตามหลักการวิจัย ต่อไป


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 5/2567 ประจำเดือน มิถุนายน 2567

เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการ ความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 5/2567 ประจำเดือนมิถุนายน ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 440 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 226 คน พนักงานราชการ จำนวน 128 คน ประเภทอื่น ฯ จำนวน 86 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 76 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 396 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 70 คน ข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ๆ จำนวน 326 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สริงสพมจ สิงพัปิรี

3.1 ผู้แทน กคม. : เรื่อง วันต่อต้านการค้ามนุษย์

3.2 ผู้แทน สสว.9 : เรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคมในพื้นที่รองรับผู้สูงอายุ

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง การพัฒนากลไกขับเคลื่อนงานป้องกัน (เชียงราย) และปราบปรามการค้ามนุษย์ตาม NRM

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนตามแนวคิด ESG


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิซาการ ครั้งที่ 4/2567 พฤษภาคม 2567

เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 4/2567 ประจำเดือนพฤษภาคม ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม
สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 292 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 148 คน พนักงานราชการ จำนวน 106 คน ประเภทอื่น ฯ จำนวน 38 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 48 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 240 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 37 คน ข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ๆ จำนวน 203 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สนงพมจ สิงพับริ

3.1 ผู้แทน กมพ. : เรื่อง งานสารารณะสงเคราะห์กับการพัฒนาสังคมไทย

3.2 ผู้แทน สสว.4 : เรื่อง รูปแบบศูนย์ดูแลผู้สูงอายุช่วงกลางวัน

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง ระบบติดตามการให้บริการสวัสดิการ (ศรีสะเกษ) (Welfare Service Check : WSC)

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การคิดเชิงออกแบบ Creative Design Thinking


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 3/2567 เมษายน 2567

เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 3/2567 ประจำเดือนเมษายน ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 303 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 34 คน ประเภทอื่น ๆ จำนวน 258 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 55 คนพนักงานราชการ จำนวน 11 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 265 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 47 คน
ข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ฯ จำนวน 218 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สอมพมจ สิงพับริ

3.1 ผู้แทน กองกลาง : เรื่อง วันคุ้มครองโลก (wม. Green Office)

3.2 ผู้แทน สสว.6 : เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบาง

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง ความเข้มแข็งศูนย์บริการคนพิการทั่วไป (สกลนคร) จังหวัดสกลนคร

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การประเมินผล RSOI โครงการ


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 2/2567มีนาคม 267

นักสังคมสงเคราะห์เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ข้าราชการ/พนักงานราชการได้รับใบประกาศฯเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล)

เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 2/2567 ประจำเดือนมีนาคม ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม

สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 168 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 66 คน พนักงานราชการ จำนวน 20 คน ประเภทอื่น ๆ จำนวน 82 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 34 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 145 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คนข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ๆ จำนวน 115 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สมงพมจ สิงพันร้

3.1 ผู้แทน สค. : เรื่อง เกร็ดความรู้ “วันสตรีสากล”

3.2 ผู้แทน สสว.5 : เรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคมในพื้นที่รองรับผู้สูงอายุ

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง การจัดการรายกรณี(หนองบัวลำภู)

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การเขียน Policy Brief แบบท้าทาย


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิซาการ ครั้งที่ 1/2567ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2567

นักสังคมสงเคราะห์เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ข้าราชการ/พนักงานราชการได้รับใบประกาศฯเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล)

เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 1/2567 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานการประชุม


Share:



การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวง พม.

วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม – วันอังคาร 12 มีนาคม 2567 กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ณ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 จังหวัดเชียงใหม่ และ องค์การบริหารส่วนตำบลมะขุนหวาน อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายในการทำโครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารแบบมีส่วนร่วมของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เพื่อยกระดับการดูแลผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย” ประจำปี 2565 ซึ่งวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการวิจัยปี 2566 และติดตามการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของโครงการวิจัยปี 2564 – 2565 และเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรใน สสว. ที่รับผิดชอบดำเนินงานด้านการวิจัย โดยมีรศ.ดร.มิ่งขวัญ คงเจริญ ร่วมกิจกรรมในฐานะที่ปรึกษาด้านการวิจัย และ ผศ.ดร.ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ พร้อมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
วีระชาติ ให้คำแนะนำเพื่อการปรับปรุง พัฒนางานต่อผู้เข้าร่วมประชุม โดยได้รับเกียรติจากนางมิ่งขวัญ ผอ.สสว.9กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม พร้อมผู้เข้าร่วมประชุมจาก สสว. 1 2 3 7 8 และ 9 และเจ้าหน้าที่ กมพ.


Share:



กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ Division of Social Development and Human Security สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม.

วันพุธ ที่ 10 เมษายน – วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2567 กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบ นิเทศ ติดตาม การขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เป้าหมายในการทำ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ชุมชนบ้านหน้าทับ ตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลาโครงการวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุกับการท่องเที่ยววิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคม”จังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งมีวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการวิจัย 2566 และติดตามการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของโครงการวิจัยปี 2564- 2565และเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรในสสว.รับผิดชอบดำเนินงานด้านการวิจัย โดยมีผศ.ดร. ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ พร้อมด้วย รศ.ดร. มิ่งขวัญ คงเจริญ ทปษ.งานวิจัยในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ให้คำแนะนำเพื่อการปรับปรุง พัฒนางานต่อผู้เข้าร่วมประชุม โดยได้รับเกียรติจาก นางอุบล ทองสลับล้วนผอ.สสา. 10 กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม พร้อมผู้เข้าร่วมประชุมจาก สสว.4 5 6 10 และ1 1 และเจ้าหน้าที่กมพ.

วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2567

ลงพื้นที่ติดตม “การนำแลงนวิจัยไปใช้ประโยชณ์” องโครงการวิจัย ปี 2565 (32 10) เรื่อง โครงการวิจัยกามีส่วนร่วมทางสังมของผู้สูงอายุกับการท่องเที่ยววิสากิจชุมนที่อสังม ณ ขุมขนบ้านหน้าทับตำบทำาศาลา อำภอทำศาลา จังหวัดนครศรีธรมราช
1. ผู้นำกลุ่มวิสาทิจมนบ้านเหมโฆสตย์ (บ้านหน้าทับ) นายทักษิณ หมิบหมัน หร้อมเกนนำที่เข้าร่วมกลุ่มา เข้าว่วมประชุม และให้ข้อมูลกับทีมวิจัย กมพสป.
2. พื้นที่มีความเข้มเข็ซ็งจากานำขอะนำ และจากการที่มีหน่วยงทนหลามกาคส่วนข้ามาให้องค์ความรู้ และสนับสนุนทุนเพื่อการพัฒนา
3. ชุมหมุ่งนั้นจุดยืนในการในความสำคัญกันการที่งพาตนอง และข้มข็งจากกายในป็นหลัก โดยการสร้างและส่งสริมกามีส่วนร่วมจากคนในชุมชน ทุกกลุ่มทุกชวงวัย และนำไปสูกามบ่งปัน และซื้อยาทรกัน เมื่อชุมหมีรายด้จากวิสากิจชุมณนจากการท่องที่ยวก็จะแบ่งถัดสวนรายได้ให้กับเมาชิทที่มาร่วมภิจกรมตามความหมามกับสัดส่วมของรายได้ และกิจกรมที่มาร่วมดำเนินงกน
4. ผู้นำเห็นปัญหากอยู่สูายุใบคุมชบที่มีการะในกรมั้ยดูเมาอิกในครอบควัว ตัวอย่าง บางครอบควัวบุตทิ้งสานไว้ให้ตยายดูแมกถึง 10 คน จึงกิดแวคิดนำผู้สูงอายุเข้ามมีส่วนว่วมัโดยเป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาตมความนัด นำไปสูการทันาเป็นลิตภัณฑ์ เพื่อจำหน่าย และกิจกรรมเพื่อการบริการ อาทิประกอบอาหารมมูท้อถิ่น บริการนวผ่อนหกายโดยใช้เปาโคลนเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ซึ่มีผู้ฐงอายุร้อยถะ 60 ของมชน มาร่วมเป็นณาชิกของาลุ่ม แะได้รับรายได้เป็นคำตอนเทน เป็นแหจูงใจ ให้ มีสวนว่ามากขึ้น นละการนำมิปัญญา และวัฒนรรมของมพมาเป็นจุดชาย สรลให้มีนัเท่องที่ยวมาเที่ยวในชุมชนเริ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากสถานการณ์โควิด19 คลี่คลาย ซึ่งมีนักท่องเที่ยว สัดสวบวัอยละ 50 กลับมาเตี๋ยวซ้ำ พื้นที่จึงมันว่าภูมิปัญญาในหมชนเป็นสิ่งสำคัญ
5. กลยุทธในการสร้างกามีส่วนร่วมคามหลักการของมชน คือ -การให้ผาชิกในชุมนร่วมปั่นสวมหนึ่งของกามป็นเจ้าของบ้าน ในการให้การต้อนวับนักท่องเที่ยว(ไม่เน้นทำปัยบอกทางสถานที่ต่างๆ ในมณน แต่นให้าชิกในชุมชนป็นป้ายบอกทางมีชีวิต เป็นผู้นำทางนักท่องเที่ยวด้วยตนองนักท่องเที่ยวพบใครก็สามารถได้รับคำเมะนำสถานที่ได้)
-กามบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกิจกรมการท่องเที่ยวที่ชัดเจน ฝ่ายด้วนวับ ฝ่ายนำเที่ยว ฝ่ายทำอาหาร ฝ่ายขับเรือท่องเที่ยว และจะมีสมาชิทบางส่วนเป็นผู้เลิตและจัดหาวัดฤดิบ เพื่อใช้ประกอบอาหาร ซึ่งเป็นกาหมุนวียนรายได้ในมขนกันอง
-ยีดหลักการให้บริการด้วยความชื่อสัตย์ และจริงใจ
-ทวัพยากรในชุมชน เป็นสิ่มีค่ต้องร่ามกันรักษา และหวงเหน
6.มีแนการงบายกามีส่วนร่ามในกลุ่มยาวชนในชุมนให้ตั๋มชื้น ฝึกให้ร่วมปีนมังพท์น้อย และจะดึงศักยภาพค้านการใช้เาคโบโงยีมาช่วยส่งสริมการประชาสัมพันกิจกรมของชุมชน ผ่านสื่อต่างๆ ให้เพิ่มขึ้นสิ่งที่ได้บจางนวิจัยอง กระทรวกณ : คือ องค์ความรู้และข้อสนอแนจากผู้สูงายุซึ่งป็นาลุ่มป้ามายในงานวิจัย ในเรื่องความต้องการให้ชุมชนพัฒาสิ่งอำนวยความะดวกสำหวับผู้สูยายุ ให้เพิ่มขึ้น จึมีกพัฒนาถานที่ให้มีทางาดสำหวับซถ W.E. CHAR ปิดห้องสำหวับให้บริการนวด และสปาโคลนสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ไม่สะหวกลงเรือไปสถานที่จริง เป็นต้นสิ่งต้องารับกสนับสูจาก กระทรวง พ. ในระต่อไป คือ องค์ความรู้เพื่อการพัฒาในสีต่างๆ ที่นจะสามารต่อยอดนำไปใช้ประโยชนได้กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์


Share:



กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ Division of Social Development and Human Security สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ในวันอังคาร ที่ 7 พฤษภาคม 2567 เวลา 09.30 – 16.30 น. นายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบาย งานวิจัย และนวัตกรรมครั้งที่ 2/2567ณ ห้องประชุมจันทร์กะพ้อ ชั้น 19 A อาคารกระทรวงการพัฒนสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยนางณัฐสุรีย์ อนุศาสนันผู้อำนวยการกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นฝ่ายเลขานุการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการประชุมเพื่อรับทราบความก้าวหน้าผลการดำเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ะยะ 18 เดือน ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระยะ 6 เดือน รายงานผลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของกระทรวง พม. และพิจารณาจัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมประเภทงบสนับสนุนงานมูลฐาน (FUNDAMENTAL FUND)สำหรับโครงการวิจัยของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 2 แผนงาน 15 โครงการ ตามกรอบวงเงินงบประมาณ 23,685,000 บาท
(ยี่สิบสามล้านหกแสนแปดหมื่นห้าพันบาทถ้วน)


Share:



การประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนงานวิจัยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

สรุปสาระสำคัญการหารือร่วมกับคณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2567 นางณัฐสุรีย์ อนุศาสนัน ผู้อำนวยการกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เข้าพบ ศาสตราจารยั้ ดร. วิพรรณ ประจวบเหมาะ คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหารือทิศทางและวิธีการร่วมมือทางวิชาการ พร้อมขอคำชี้แนะแนวทางการขับเคลื่นการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนา กระทรวง พม. ณ ห้องประชุม 301 วิทยาลัยประชากรศาสตร์ อาคารวิศิษฐ์ประจวบเหมาะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

1. สืบเนื่องจากการประชุมร่วมกับคณะที่ปรึกษา รมว.พม. นำโดยนายนิกร จำนง ประธานคณะที่ปรึกษาและ ศาสตราจารย์กนก วงษ์ตระหง่าน รองประธานคณะที่ปรึกษา ในการประชุมหารือความร่วมมือทางวิชาการกับคูณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2567 ณ ห้องประชุม ณ ห้องประชุมวังสะพานขาวชั้น 18 B อาคารกระทรวง พม. และที่ประชุมเสนอความเห็นที่เกี่ยวข้องกับภารกิจกองมาตรฐานฯ คือ ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสนับสนุนการดำเนินงานด้านวิชาการโดยเฉพาะองค์ความรู้งานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคมให้เป็นรูปธรรม โดยกระทรวง พม. เป็นผู้ใช้ประโยชน์ เช่น การนำงานวิจัยโครงการบูรณาการสหศาสตร์เพื่อรองรับสังคมสูงวัยในชุมชนเมือง หรือโครงการจุฬาอารีมาขยายผล และส่งเสริมให้เกิดการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในกลุ่มเป้าหมาย พม. ทุกช่วงวัย และการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความมั่นคงของมนุษย์ของคนไทย เป็นต้น

2. กมพ. พิจารณาแล้วจึงเข้าพบ และหารืออย่างไม่เป็นทางการ เรื่องทิศทางและวิธีการร่วมมือทางวิชาการและขอคำชี้แนะแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนา ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร. วิพรรณประจวบเหมาะ คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมคณะ ได้ข้อสรุป ดังนี้

2.1 ทบทวน แผน ววน.พม.เพื่อให้สอดคล้อง และเติเต็มการขับเคลื่อนมาตรการในนโยบาย 5×5ผ่านกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

2.2 ควรจัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลภารกิจ สถานการณ์ทางสังคม ปัญหาความต้องการเชิงการชับเคลื่อนนโยบายของแต่ละกรม/เทียบเท่าในสังกัด พม. ก่อนกำหนดประเด็นวิจัยที่แหลมคมและสามารถนำไปขับเคลื่อนได้จริง


Share:



Social media & sharing icons powered by UltimatelySocial