ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 3/2567 เมษายน 2567

เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 3/2567 ประจำเดือนเมษายน ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 303 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 34 คน ประเภทอื่น ๆ จำนวน 258 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 55 คนพนักงานราชการ จำนวน 11 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 265 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 47 คน
ข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ฯ จำนวน 218 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สอมพมจ สิงพับริ

3.1 ผู้แทน กองกลาง : เรื่อง วันคุ้มครองโลก (wม. Green Office)

3.2 ผู้แทน สสว.6 : เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบาง

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง ความเข้มแข็งศูนย์บริการคนพิการทั่วไป (สกลนคร) จังหวัดสกลนคร

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การประเมินผล RSOI โครงการ


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 2/2567มีนาคม 267

นักสังคมสงเคราะห์เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ข้าราชการ/พนักงานราชการได้รับใบประกาศฯเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล)

เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11 จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 2/2567 ประจำเดือนมีนาคม ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประรานการประชุม

สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 168 คน

1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 66 คน พนักงานราชการ จำนวน 20 คน ประเภทอื่น ๆ จำนวน 82 คนเป็นนักสังคมสงเคราะห์ จำนวน 34 คน

2. ผู้ผ่านการทดสอบ 60% (Pre-test/Post-test) และได้รับใบประกาศนียบัตรเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล) และนักสังคมสงเคราะห์ใช้เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รวมทั้งสิ้น 145 คนจำแนกเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คนข้าราชการ/พนักงานราชการ และประเภทอื่น ๆ จำนวน 115 คน

3. หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ สมงพมจ สิงพันร้

3.1 ผู้แทน สค. : เรื่อง เกร็ดความรู้ “วันสตรีสากล”

3.2 ผู้แทน สสว.5 : เรื่อง การแก้ไขปัญหาสังคมในพื้นที่รองรับผู้สูงอายุ

3.3 ผู้แทน สนง.พมจ. : เรื่อง การจัดการรายกรณี(หนองบัวลำภู)

3.4 ผู้แทน สภาวิชาชีพ : เรื่อง การเขียน Policy Brief แบบท้าทาย


Share:



ประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิซาการ ครั้งที่ 1/2567ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2567

นักสังคมสงเคราะห์เก็บชั่วโมงเพื่อต่อใบประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ข้าราชการ/พนักงานราชการได้รับใบประกาศฯเพื่อใช้ประกอบตามตัวชี้วัด : การพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามภารกิจ (ระดับบุคคล)

เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13.00 น. – 16.40 น. กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พมจ. และ สสว.1-11จัดการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการความรู้ด้านวิชากาาร ครั้งที่ 1/2567 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings โดยมีนายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานการประชุม


Share:



การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวง พม.

วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม – วันอังคาร 12 มีนาคม 2567 กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ณ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 จังหวัดเชียงใหม่ และ องค์การบริหารส่วนตำบลมะขุนหวาน อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายในการทำโครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารแบบมีส่วนร่วมของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เพื่อยกระดับการดูแลผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย” ประจำปี 2565 ซึ่งวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการวิจัยปี 2566 และติดตามการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของโครงการวิจัยปี 2564 – 2565 และเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรใน สสว. ที่รับผิดชอบดำเนินงานด้านการวิจัย โดยมีรศ.ดร.มิ่งขวัญ คงเจริญ ร่วมกิจกรรมในฐานะที่ปรึกษาด้านการวิจัย และ ผศ.ดร.ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ พร้อมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
วีระชาติ ให้คำแนะนำเพื่อการปรับปรุง พัฒนางานต่อผู้เข้าร่วมประชุม โดยได้รับเกียรติจากนางมิ่งขวัญ ผอ.สสว.9กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม พร้อมผู้เข้าร่วมประชุมจาก สสว. 1 2 3 7 8 และ 9 และเจ้าหน้าที่ กมพ.


Share:



กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ Division of Social Development and Human Security สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม.

วันพุธ ที่ 10 เมษายน – วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2567 กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อลงพื้นที่พัฒนาระบบ นิเทศ ติดตาม การขับเคลื่อนงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เป้าหมายในการทำ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ชุมชนบ้านหน้าทับ ตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลาโครงการวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุกับการท่องเที่ยววิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคม”จังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งมีวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการวิจัย 2566 และติดตามการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของโครงการวิจัยปี 2564- 2565และเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรในสสว.รับผิดชอบดำเนินงานด้านการวิจัย โดยมีผศ.ดร. ชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ พร้อมด้วย รศ.ดร. มิ่งขวัญ คงเจริญ ทปษ.งานวิจัยในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ให้คำแนะนำเพื่อการปรับปรุง พัฒนางานต่อผู้เข้าร่วมประชุม โดยได้รับเกียรติจาก นางอุบล ทองสลับล้วนผอ.สสา. 10 กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม พร้อมผู้เข้าร่วมประชุมจาก สสว.4 5 6 10 และ1 1 และเจ้าหน้าที่กมพ.

วันพฤหัสบดีที่ 11 เมษายน 2567

ลงพื้นที่ติดตม “การนำแลงนวิจัยไปใช้ประโยชณ์” องโครงการวิจัย ปี 2565 (32 10) เรื่อง โครงการวิจัยกามีส่วนร่วมทางสังมของผู้สูงอายุกับการท่องเที่ยววิสากิจชุมนที่อสังม ณ ขุมขนบ้านหน้าทับตำบทำาศาลา อำภอทำศาลา จังหวัดนครศรีธรมราช
1. ผู้นำกลุ่มวิสาทิจมนบ้านเหมโฆสตย์ (บ้านหน้าทับ) นายทักษิณ หมิบหมัน หร้อมเกนนำที่เข้าร่วมกลุ่มา เข้าว่วมประชุม และให้ข้อมูลกับทีมวิจัย กมพสป.
2. พื้นที่มีความเข้มเข็ซ็งจากานำขอะนำ และจากการที่มีหน่วยงทนหลามกาคส่วนข้ามาให้องค์ความรู้ และสนับสนุนทุนเพื่อการพัฒนา
3. ชุมหมุ่งนั้นจุดยืนในการในความสำคัญกันการที่งพาตนอง และข้มข็งจากกายในป็นหลัก โดยการสร้างและส่งสริมกามีส่วนร่วมจากคนในชุมชน ทุกกลุ่มทุกชวงวัย และนำไปสูกามบ่งปัน และซื้อยาทรกัน เมื่อชุมหมีรายด้จากวิสากิจชุมณนจากการท่องที่ยวก็จะแบ่งถัดสวนรายได้ให้กับเมาชิทที่มาร่วมภิจกรมตามความหมามกับสัดส่วมของรายได้ และกิจกรมที่มาร่วมดำเนินงกน
4. ผู้นำเห็นปัญหากอยู่สูายุใบคุมชบที่มีการะในกรมั้ยดูเมาอิกในครอบควัว ตัวอย่าง บางครอบควัวบุตทิ้งสานไว้ให้ตยายดูแมกถึง 10 คน จึงกิดแวคิดนำผู้สูงอายุเข้ามมีส่วนว่วมัโดยเป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาตมความนัด นำไปสูการทันาเป็นลิตภัณฑ์ เพื่อจำหน่าย และกิจกรรมเพื่อการบริการ อาทิประกอบอาหารมมูท้อถิ่น บริการนวผ่อนหกายโดยใช้เปาโคลนเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ซึ่มีผู้ฐงอายุร้อยถะ 60 ของมชน มาร่วมเป็นณาชิกของาลุ่ม แะได้รับรายได้เป็นคำตอนเทน เป็นแหจูงใจ ให้ มีสวนว่ามากขึ้น นละการนำมิปัญญา และวัฒนรรมของมพมาเป็นจุดชาย สรลให้มีนัเท่องที่ยวมาเที่ยวในชุมชนเริ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากสถานการณ์โควิด19 คลี่คลาย ซึ่งมีนักท่องเที่ยว สัดสวบวัอยละ 50 กลับมาเตี๋ยวซ้ำ พื้นที่จึงมันว่าภูมิปัญญาในหมชนเป็นสิ่งสำคัญ
5. กลยุทธในการสร้างกามีส่วนร่วมคามหลักการของมชน คือ -การให้ผาชิกในชุมนร่วมปั่นสวมหนึ่งของกามป็นเจ้าของบ้าน ในการให้การต้อนวับนักท่องเที่ยว(ไม่เน้นทำปัยบอกทางสถานที่ต่างๆ ในมณน แต่นให้าชิกในชุมชนป็นป้ายบอกทางมีชีวิต เป็นผู้นำทางนักท่องเที่ยวด้วยตนองนักท่องเที่ยวพบใครก็สามารถได้รับคำเมะนำสถานที่ได้)
-กามบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกิจกรมการท่องเที่ยวที่ชัดเจน ฝ่ายด้วนวับ ฝ่ายนำเที่ยว ฝ่ายทำอาหาร ฝ่ายขับเรือท่องเที่ยว และจะมีสมาชิทบางส่วนเป็นผู้เลิตและจัดหาวัดฤดิบ เพื่อใช้ประกอบอาหาร ซึ่งเป็นกาหมุนวียนรายได้ในมขนกันอง
-ยีดหลักการให้บริการด้วยความชื่อสัตย์ และจริงใจ
-ทวัพยากรในชุมชน เป็นสิ่มีค่ต้องร่ามกันรักษา และหวงเหน
6.มีแนการงบายกามีส่วนร่ามในกลุ่มยาวชนในชุมนให้ตั๋มชื้น ฝึกให้ร่วมปีนมังพท์น้อย และจะดึงศักยภาพค้านการใช้เาคโบโงยีมาช่วยส่งสริมการประชาสัมพันกิจกรมของชุมชน ผ่านสื่อต่างๆ ให้เพิ่มขึ้นสิ่งที่ได้บจางนวิจัยอง กระทรวกณ : คือ องค์ความรู้และข้อสนอแนจากผู้สูงายุซึ่งป็นาลุ่มป้ามายในงานวิจัย ในเรื่องความต้องการให้ชุมชนพัฒาสิ่งอำนวยความะดวกสำหวับผู้สูยายุ ให้เพิ่มขึ้น จึมีกพัฒนาถานที่ให้มีทางาดสำหวับซถ W.E. CHAR ปิดห้องสำหวับให้บริการนวด และสปาโคลนสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ไม่สะหวกลงเรือไปสถานที่จริง เป็นต้นสิ่งต้องารับกสนับสูจาก กระทรวง พ. ในระต่อไป คือ องค์ความรู้เพื่อการพัฒาในสีต่างๆ ที่นจะสามารต่อยอดนำไปใช้ประโยชนได้กลุ่มการวิจัยและการพัฒนา กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์


Share:



กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ Division of Social Development and Human Security สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ในวันอังคาร ที่ 7 พฤษภาคม 2567 เวลา 09.30 – 16.30 น. นายอนันต์ ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบาย งานวิจัย และนวัตกรรมครั้งที่ 2/2567ณ ห้องประชุมจันทร์กะพ้อ ชั้น 19 A อาคารกระทรวงการพัฒนสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยนางณัฐสุรีย์ อนุศาสนันผู้อำนวยการกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นฝ่ายเลขานุการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการประชุมเพื่อรับทราบความก้าวหน้าผลการดำเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ะยะ 18 เดือน ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระยะ 6 เดือน รายงานผลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของกระทรวง พม. และพิจารณาจัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมประเภทงบสนับสนุนงานมูลฐาน (FUNDAMENTAL FUND)สำหรับโครงการวิจัยของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จำนวน 2 แผนงาน 15 โครงการ ตามกรอบวงเงินงบประมาณ 23,685,000 บาท
(ยี่สิบสามล้านหกแสนแปดหมื่นห้าพันบาทถ้วน)


Share:



การประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนงานวิจัยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

สรุปสาระสำคัญการหารือร่วมกับคณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2567 นางณัฐสุรีย์ อนุศาสนัน ผู้อำนวยการกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เข้าพบ ศาสตราจารยั้ ดร. วิพรรณ ประจวบเหมาะ คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหารือทิศทางและวิธีการร่วมมือทางวิชาการ พร้อมขอคำชี้แนะแนวทางการขับเคลื่นการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนา กระทรวง พม. ณ ห้องประชุม 301 วิทยาลัยประชากรศาสตร์ อาคารวิศิษฐ์ประจวบเหมาะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

1. สืบเนื่องจากการประชุมร่วมกับคณะที่ปรึกษา รมว.พม. นำโดยนายนิกร จำนง ประธานคณะที่ปรึกษาและ ศาสตราจารย์กนก วงษ์ตระหง่าน รองประธานคณะที่ปรึกษา ในการประชุมหารือความร่วมมือทางวิชาการกับคูณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2567 ณ ห้องประชุม ณ ห้องประชุมวังสะพานขาวชั้น 18 B อาคารกระทรวง พม. และที่ประชุมเสนอความเห็นที่เกี่ยวข้องกับภารกิจกองมาตรฐานฯ คือ ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสนับสนุนการดำเนินงานด้านวิชาการโดยเฉพาะองค์ความรู้งานวิจัย และนวัตกรรม เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคมให้เป็นรูปธรรม โดยกระทรวง พม. เป็นผู้ใช้ประโยชน์ เช่น การนำงานวิจัยโครงการบูรณาการสหศาสตร์เพื่อรองรับสังคมสูงวัยในชุมชนเมือง หรือโครงการจุฬาอารีมาขยายผล และส่งเสริมให้เกิดการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในกลุ่มเป้าหมาย พม. ทุกช่วงวัย และการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความมั่นคงของมนุษย์ของคนไทย เป็นต้น

2. กมพ. พิจารณาแล้วจึงเข้าพบ และหารืออย่างไม่เป็นทางการ เรื่องทิศทางและวิธีการร่วมมือทางวิชาการและขอคำชี้แนะแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการวิจัยและการพัฒนา ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร. วิพรรณประจวบเหมาะ คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมคณะ ได้ข้อสรุป ดังนี้

2.1 ทบทวน แผน ววน.พม.เพื่อให้สอดคล้อง และเติเต็มการขับเคลื่อนมาตรการในนโยบาย 5×5ผ่านกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

2.2 ควรจัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลภารกิจ สถานการณ์ทางสังคม ปัญหาความต้องการเชิงการชับเคลื่อนนโยบายของแต่ละกรม/เทียบเท่าในสังกัด พม. ก่อนกำหนดประเด็นวิจัยที่แหลมคมและสามารถนำไปขับเคลื่อนได้จริง


Share:



การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิจัยระดับกลาง

วันพุธที่ 5มิถุนายน พ.ศ. 2567 เวลา 15.00 น.นายอนันต์ดนตรี รองปลัดกระทรวงการพัฒาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรอบรมนักวิจัยระดับกลาง ณ โรงแรมเบสท์ เวสเทิร์น พลัส แวนด้า แกรนด์ โดยมี นางณัฐสุรีย์ อนุศาสนันผู้อำนวยการกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่ออบรมขยายผลการพัฒณาศักยภาพบุคลากรของกระทรวงการพัฒาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งรับผิดชอบงานด้านวิจัย วิชาการ และนวัตกรรม ให้มีทักษะ ความรู้ด้านงานวิจัย สามารถขับเคลื่อนสนับสนุนงานวิจัยเละวิชาการของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเป็นการส่งเสริมองค์ความรู้ ในการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยมีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 40 คน ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานระดับกรม / เทียบเท่า ผู้ปฏิบัติงานจากสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 บุคลากรและเจ้าหน้าที่กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในการนี้ได้รับเกียรติจากนางนันท์นัดดา ฤทธิ์มนตรี ผู้อำนวยการกองพัฒนานโยบายและนวัตกรรมทางสังคม ร่วมชี้เแจงเพื่อสื่อสารทิศทางข้อเสนอนโยบายฝ่าวิกฤตประซากร ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (นายวราวุธ ศิลปอาชา) เพื่อนำไปสู่การออกแบบโจทย์วิจัยที่สอดคล้องกับทิศทางของนโยบายเละสถานการณ์ปัญหาสังคมที่สำคัญ อันจะนำไปสู่การจัดทำคำของบประมาณโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2569 โอกาสนี้ รองปลัดกระทรวงการพัฒณาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวว่า ทักษะการทำงานด้านการวิจัยเป็นทักษะที่สำคัญ และจำเป็นสำหรับการทำงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต ผลงานวิจัยจะเป็นข้อมูสสำคัญทางวิชาการในการสนับสนุนนโยบายขององค์กรให้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ รวมถึงการวิจัยจะสร้างนวัตกรรมทางสังคมใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนางาน และพัฒนาองค์กรให้เท่าทันต่อสถานการณ์ยิ่งขึ้น จึงขอให้ผู้ปฏิบัติงานมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการพัฒนาตนเองเพื่อการพัฒนางานต่อไป


Share:



แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม กมพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมผ่านช่องทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ธรรมะออนไลน์)

กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ด้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติ

การสั่งเสริมคุณธรรม กมพ. ประจำปีงบประมาณ 2567 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม

ผ่านช่องทางสี่ออิเล็กทรอนิกส์ (ธรรมะออนไลน์) ด้วยการประชาสัมพันธ์คลิปวิดีโอธรรมะ เรื่อง

พอเพียงและเพียงพอ วัตถุประสงค์เพื่อให้ข้าราชการ พนักงานราชการ และเจ้าหน้าที่ กมพ. รวมจำนวน

46 คน ได้รับการส่งเสริม พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้มีหลักธรรมในการดำรงชีวิตแบบพอเพียง

สรุปสาระสำคัญจากการรับฟังวิดีโอธรรมะออนไลน์ คือ ความพอเพียงและเพียงพอในการ

ทำงาน หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่ หรือการทำสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ควรทำด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ เอาใจ

ใส่ และรับผิดชอบในการทำหน้าที่ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย และ

ควรปรับทัศนคติต่อการได้รับมอบหมายงานว่าไม่ใช่เป็นการเพิ่มภาระ แต่เป็นโอกาสที่ได้ทำสิ่งใหม่ ๆ

และเป็นสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาเล็งเห็นถึงคุณค่า ความสำคัญ และความสามารถในตัวของเรา ว่าสามารถ

ปฏิบัติงานนั้น ๆ ได้ ดังนั้น ควรภาคภูมิใจในตนเองทุกครั้งที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ

นอกจากนี้การปฏิบัติหน้าที่ หรือทำในสิ่งที่ได้รับมอบหมายควรทำให้ดีที่สุด ตั้งอยู่บนความเป็นจริง และ

พอใจในสิ่งที่ตนเองได้รับ โดยไม่ต้องไปยุ่งเกี่ยวกับงานของผู้อื่น บุคลากรสามารถ นำความรู้ที่ได้รับ

จากการรับฟังธรรมะออนไลน์มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานที่ตนเองได้รับมอบหมาย โดยการปรับมุม

มอง และแนวคิดต่องานใหม่ ๆ ให้เป็นสิ่งท้าทายที่ต้องปฏิบัติ และการปฏิบัติงานให้ตั้งใจ ทุ่มเท และ

เต็มที่กับการปฏิบัติงานทุกครั้ง และที่สำคัญควรภาคภูมิใจและพอใจในงานที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ


Share:



แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม กมพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรม “กมพ. รวมพลังลดปริมาณการใช้กระดาษในหน่วยงาน (Reuse)”

กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ด้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริม

คุณธรรม กมพ. ประจำปีงบประมาณ 2567 กิจกรรม “กมพ. รวมพลังลดปริมาณการใช้กระดาษในหน่วยงาน

(Reuse)” วัตถุประสงค์เพื่อให้ข้าราชการ พนักงานราชการ และเจ้าหน้าที่ กมพ. รวมจำนวน 43 คน ได้ตระหนัก

ถึงความพอเพียง ประหยัด และรู้คุณค่าในการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน รวมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่าย

งบประมาณ

กิจกรรม “กมพ. รวมพลังลดปริมาณการใช้กระดาษในหน่วยงาน (Reuse )” ช่วยทำให้ข้าราชการ พนักงาน

ราชการ และเจ้าหน้าที่ กมพ. ได้ตระหนักถึงความพอเพียง ประหยัด และรู้คุณค่าในการใช้ทรัพยากร

ของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้มากขึ้น โดยเฉพาะการใช้กระดาบ มีปริมาณการใช้กระดาษที่น้อยลง

ซึ่งช่วยทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการใช้งบประมาณ


Share:



Social media & sharing icons powered by UltimatelySocial